สาขาเทคโนโลยีโลจิสติกส์และการจัดการขนส่ง คณะเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี ได้ดำเนินการจัดทำบล็อกดังกล่าวนี้ โดยมีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการ คือ 1.เพื่อรวบรวมบทความที่น่าสนใจด้านโลจิสติกส์และการจัดการระบบซัพพลายเชนให้กับบุคคลที่สนใจทราบ 2.เพื่อประชาสัมพันธ์งานวิจัยของนักศึกษาในสาขาให้กับบุคคลทั่วไปได้ทราบ ซึ่งมีทั้งส่วนที่มาจากการศึกษาในสถานประกอบการของสหกิจศึกษา และการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2554

Supply chain trends for 2011

Supply Chain Digital takes a look at four of the biggest industry trends moving forward in 2011 




             In an interesting read published last Thursday on MFRTech.com, author Keith Prather took a look at four of the likely 2011 supply chain trends to monitor moving forward. 

             The piece is quite long, so we’ve paraphrased the four trends to make for an easier read, enjoy!

1.) Managing Total Landed Cost


           The current trend is to incorporate Total Landed Cost (TLC) into more key business decisions, according to MFRTech.com. Sourcing parts overseas is a growing option, and providing a manager with TLC will allow for more visibility in supply chain decision making.
            With labor prices rising in China and India, sourcing parts from home-based manufacturers is becoming more and more affordable.

2.) Inventory Management Strategies

             Don’t let inventory problems tie up cash that could be used in more useful places. The ability for managers to reduce the timing and costs of inventory will be a huge focus this year, and better inventory strategies leave warehouse managers with no excuses if inventory costs rise.


3.) Managing Supply Chain Risk

             Take a look at some of the global supply chain disasters that have struck since 2000. From 9/11 to soaring fuel costs to the recent Japan disaster, supply chain managers need to manage risk now more than ever.
              Because the supply chain continues to go global, problems on the other side of the world can affect your supply chain now more than ever.

4.) Changing Transportation Environment

               The options available for transportation are more endless now than they’ve ever been before. With truck driver shortages in the U.S. mounting, it’s estimated by the American Trucking Association that the nation will be more than 20,000 drivers short of meeting demand, which will drive up costs. Rising fuel costs will also give way to more expensive trucking costs, and will also raise air freight shipping prices.
               Rail is the wave of the future, and offers an affordable solution when oil prices rise. An increase in intermodal transportation and increased rail infrastructure are leading indicators that freight rail will increase over the next year.


ตอกย้ำเยอรมันผู้นำศูนย์กลางโลจิสติกส์ยุโรป


Germany named Europe's top logistics hub
            A strong infrastructure and several major business headquarters make Germany Europe's most attractive logistics base
           ด้วยความเข้มแข็งของระบบโครงสร้างพื้นฐาน การบริการด้านโลจิสติกส์ที่หลากหลาย และการเป็นที่ตั้งของสำนักงานใหญ่ของบริษัทด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ทำให้ประเทศเยอรมันกลายเป็นฐานที่มั่นเบอร์หนึ่งของธุรกิจโลจิสติกส์ในยุโรป


ท่าเรือฮัมบรูก - Port of Humberg 
  
        ธุรกิจซื้อขายออนไลน์อย่าง Amazon.com เพิ่งประกาศว่าจะมีการสร้างสาธารณูปโภคด้านโลจิสติกส์ขึ้นทางตอนใต้ของประเทศ โดยใช้พื้นที่ประมาณ 110,000 ตารางเมตร และเป็นที่คาดหมายว่า 1 ใน 2 ของศูนย์กระจายสินค้าหลักจะเปิดขึ้นภายในปี 2011 นี้  ซึ่งถือเป็นการตอกย้ำว่าเยอรมันได้กลายเป็นเป็นประเทศที่น่าสนใจลงทุน (Invest) ด้านโลสิกติกส์ที่สุดในยุโรป ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องการเป็นศูนย์กระจายสินค้า (Hub for Distribution) และเรื่องของการค้า (Trade)
               โดยหากมองถึงปัจจัยที่ทำให้ประเทศเยอรมันกลายเป็น Europe's Top Logistics Hup นั้น อาจมองได้จากเงื่อนไข หรือสภาวะ (Conditions) ที่ทำให้บริษัทประสบความสำเร็จได้ง่าย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของสภาพที่ตั้งที่อยู่ทางตอนกลางของทวีป  การมีระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานระดับโลก ซึ่งเยอรมัน เป็นประเทศที่มีระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน (Infrastructure) เบอร์ 1 ของโลกนะครับ (ข้อมูลจากธนาคารโลก ที่ทำการประเมิณ LPI-Logistics Performance Index) การมีตลาดที่ประกอบด้วยผู้ให้บริการและผู้ซื้อบริการ ที่มีขนาดใหญ่ หลากหลาย และมีการพัฒนาในระดับสูง  การเป็นประเทศผู้นำด้านโลจิสติกส์ในทุกๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นด้านเทคโนโลยีและด้านประสิทธิภาพ

             ทั้งนี้  Mr. David Chasdi, Logistics Expert at Germany Trade & Invest, ได้กล่าวไว้ว่า
“Global companies are increasingly choosing Germany for their European distribution headquarters.”
"บริษัทด้านโลจิสติกส์ระดับโลกมีการเลือกเยอรมันเป็นที่ฐานที่มั่นในการกระจายสินค้าในทวีปยุโรปมากขึ้น" 

           จากการประกาศ Logistics Performance Index ของธนาคารโลก และ World Economic Forum's Global Competitiveness Report in 2010 ได้กล่าวว่า เยอรมันได้กลายเป็นประเทศที่มีค่า LPI สูงที่สุดในโลกนั้นหมายความว่าเยอรมัน คือ เบอร์ 1 ของโลกด้านโลจิสติกส์ โดยเฉพาะเรื่องของระบบโครงสร้างพื้นฐานที่ประกอบด้วย ระบบเครือการขนส่งทางอากาศ ทางรถไฟ และทางน้ำ ที่มีการใช้บริการเป็นจำนวนมาก  ซึ่งได้กลายเป็นผู้นำในอุตสาหกรรม และสร้างรายได้มากกว่า 200 พันล้านยูโรในปีที่ผ่านมา  นอกจากนี้ยังรวมถึงธุรกิจส่งออกที่สินค้าส่งออกหลักของประเทศ คือ เครื่องจักร และสินค้าอุตสาหกรรมต่างๆ ที่มีกลุ่มลูกค้าหลักเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ไม่ว่าจะเป็นจีน สหรัฐอเมริกา และกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่ม EU ซึ่งถือเป็นกุญแจสำคัญที่ทำให้เยอรมันยังเป็นผู้นำของธุรกิจโลก


แผนที่ประเทศเยอรมัน


              ข้อมูลที่น่าสนใจของประเทศเยอรมัน
             
              1. ท่าเรือสำคัญของประเทศ คือ ท่าเรือฮัมบรูก ภาษาอังกฤษ เรียกว่า Port of Humberg ภาษาเยอรมัน เรียกว่า Hamberg Hafen (Hafen แปลว่า ท่าเรือ) ซึ่งตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศ ประกอบด้วยท่าเรือย่อยๆ 5 ท่า คือ Cuxhaven, Brunsbuttel และ Gluckstadt ตั้งอยู่บนแม่น้ำ Elbe ซึ่งติดกับทะเล North Sea  และ Lubeck และ Kiel ที่ตั้งอยู่ใกล้ทะเล Baltic Sea จัดว่าเป็นท่าเรือที่มีปริมาณสินค้าเข้าใช้ท่ามากเป็นอันดับ 15 ของโลก (ท่าเรือแหลมฉบังอันดับที่ 20) หรืออันดับ 3 ของยุโรปรองจาก ท่าเรือ Rotterdam ของเนอเธอแลนด์ และ ท่าเรือ Antwerp ของเบลเยี่ยม ซึ่งหากรวมปริมาณการใช้ของท่าเรือ Humberg และ Bremen ของเยอรมันเช่นกัน ก็จะทำให้เยอรมันมีปริมาณการใช้การขนส่งผ่านท่าเรือมากที่สุดในยุโรป
              2. ค่าว่า โลจิสติกส์ (Logistics) ในภาษาเยอรมัน สะกดว่า Logistik
              3. ระบบรถไฟ Deutsche Bahn หรือ German Rail เป็นระบบขนส่งที่ค่อนข้างเปิดเหมือนกับรถขนส่งบ้านเราที่มีองค์กรของภาครัฐทำหน้าที่ควบคุมระบบ ซึ่งปัจจุบันมีบริษัทเอกชนมากกว่า 300 บริษัท ทำหน้าที่ในการขนส่งคนและสินค้า ซึ่งเส้นทางที่ใช้วิ่งมีการแบ่งเป็นเส้นทางที่ใช้วิ่งภายในประเทศและเส้นทางระหว่างประเทศ  ระยะทางรวมของเส้นทางในประเทศมีทั้งสิ้น 76,473 กม. แบ่งเป็น ทางรถไฟแบบรางปกติ 41,315 กม. ซึ่งใช้ในการขนส่งสินค้าและเดินทาง  นอกจากนี้อีก 19,857 กม.เป็นทางรถไฟฟ้าที่เน้นสำหรับเดินทาง


เครือข่ายเส้นทางรถไฟภายในประเทศเยอรมัน
ที่เส้นสีแดง คือ เส้นที่เน้นวิ่งเมืองสำคัญในประเทศ
เส้นสีน้ำเงิน คือ เส้นที่ใช้วิ่งเมืองสำคัญในประเทศ และระหว่างประเทศ
ส่วนเส้นสีเทา คือ เส้นระดับท้องถิ่น

               4. เยอรมันมีช่องแคบ Keil ที่ทำหน้าเชื่อมเส้นทางทะเลระหว่างทะเล North (ยุโรปตะวันตก) และทะเล Baltic (ยุโรปตะวันออก) บริเวณตอนเหนือสุดของประเทศใกล้กับประเทศเดนมาร์ค